วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

งานวันนี้ 4 กรกฎาคม 51

ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
.........................กำหนดส่งก่อน 16.00 น. 4 กรกฏาคม 51 ...............

39 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวจันทร์เพ็ญ กองเกิด
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวอมรรัตน์ ทบวัน
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายอุทัย การุณ
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายจำลอง ไตรรัตน์
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวโยธกา ไสวงาม
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายเสกสรรค์ กระลาม
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1.ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2.เช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวสโรชา ฤทธิไกร ม.6
ภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้ หรือ การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดให้ความหมายไว้อย่างชัดเจนแต่พอทำความเข้าใจได้ดังนี้ หมายถึง ความรู้หรือประสบการณ์ดั้งเดิมของประชาชนในท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษหรือถ่ายทอดต่อกันจากสถาบันต่างๆ ในชุมชน เช่น จากสถาบันครอบครัว สถาบันความเชื่อและศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ นอกจากนี้ กรมการศึกษานอกโรงเรียนให้ความหมายคำว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” นั้นเป็นการเชื่อมโยงไปถึงความรู้ประสบการณ์ตรงของคนในท้องถิ่น ที่ได้จากการสะสมประสบการณ์จากการทำงาน การประกอบอาชีพและการเรียนรู้จากธรรมชาติแวดล้อมต่างๆ และถ้าจะพิจารณาภูมิปัญญาท้องถิ่นเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีแล้วนั้นหมายถึง เทคนิควิทยาพื้นบ้านได้ด้วย โดยสถานวิจัยสังคมได้ให้คำจำกัดความว่า เทคโนโลยีนั้นเป็นความรู้ว่าจะทำสิ่งต่างๆ อย่างไร โดยมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ เครื่องมือในการทำสิ่งนั้น ๆ และกระทบกันขั้นตอนในการทำสิ่งนั้น ๆ ซึ่งสามารถแยกได้ในลักษณะความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและความจำเป็นในท้องถิ่น เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์แนวความคิดที่เป็นมรดกของคนไทยในการประกอบอาชีพ โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเป็นหลักพิจารณากิจกรรมหรืออาชีพของชุมชน เช่น แถบพื้นที่หรือท้องถิ่นใดเป็นที่ราบลุ่ม กิจกรรมของชุมชนก็คือ การทำนา หรือการปั้นโอ่งและตุ่มน้ำจากดินเหนียว หรือการแกะสลักไม้เป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยใช้ไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น ในการสัมมนาทางวิชาการ โดยศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสุรินทร์ ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและการสร้างเครือข่าย นั้นได้ให้คำจำกัดความของคำว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ความหมายของภูมิปัญญาไทย
จากการศึกษาความหมายที่ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมคำว่า ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย สามารถรวบรวมได้ดังนี้

1) ภูมิปัญญา
คำว่า ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า wisdom ซึ่งมีความหมายว่าความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม และความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์

2) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
คำว่าภูมิปัญญาพื้นบ้าน ให้ความหมายว่าเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหา การปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถีของชาวบ้าน

3) ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชาไม่แยกเป็นวิชา ๆ แบบที่เราเรียน ฉะนั้นวิชาเกี่ยวกับเศรษฐกิจอาชีพ ความเป็นอยู่เกี่ยวกับการใช้จ่าย กับการศึกษาวัฒนธรรมมันจะผสมผสานกลมกลืนเชื่อมโยงกันไปหมด
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) เป็นองค์ความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สั่งสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหา ปรับตัว เรียนรู้ และมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลงชุมชนให้อยู่รอดจนถึงปัจจุบัน
ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Locsl wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) คือ ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาให้เห็นเป็นศาสตร์เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชน และในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษาและนำมาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถ่ายทอด และพัฒนาไปสู่คนรุ่นใหม่ ตามยุคตามสมัยได้

5) ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย เป็นผลของประสบการณ์สั่งสมของคนที่เรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มชนเดียวกันและระหว่างกลุ่มชุมชนหลาย ๆ ชาติพันธุ์ รวมไปถึงโลกทัศน์ที่มีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ ภูมิปัญญาเหล่านี้เคยเอื้ออำนวยให้คนไทยแก้ปัญหาได้ดำรงอยู่ และสร้างสรรค์อารยธรรมของเราเองได้อย่างมีดุลยภาพกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในระดับพื้นฐานหรือระดับชาวบ้าน ภูมิปัญญาในแผ่นดินนี้มิได้เกิดขึ้นเป็นเอกเทศแต่มีส่วนแลกเปลี่ยนเลือกเฟ้น และปรับให้ภูมิปัญญาจากอารยธรรมอื่นตลอดมา
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน วิชิต นันทสุวรรณ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง แกนหลักของการมองชีวิต การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ประเวศ วะสี กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนานมีลักษณะการเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชา
สุจารี จันทรสุข กล่าวว่า ภูมิปัญญชาวบ้าน หมายถึง วิธีการปฏิบัติซึ่งชาวบ้านไมาจาประสบการณ์แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่องแต่ละประสบการณ
สามารถ นันทร์สูรย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดได้เองที่นำมาใช้แก้ปัญหา เป็นสติปัญญา เป็นองค์ความรู้
อังกูล สม่คะเนย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง มวลความรู้และมวลประสบการณ์ชาวบ้านที่ใช่ในการดำเนินชีวิตให้เป็นสุข
1ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
รัตนะ บัวสนธิ์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง กระบวนทัศน์ของบุคคลที่มีต่อตนเองต่อโลกและสิ่งแวดล้อม กระบวนการทัศน์ที่เป็นภูมิปัญหาท้องถิ่นจำแนกออกได้ 3 ลักษณะคือ
ลักษณะที่ 1 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการจัดการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม
ลักษณะที่ 2 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบสังคมหรือการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
ลักษณะที่ 3 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการผลิตหรือการประกอบอาชีพที่มีลักษณะมุ่งเน้นระบบการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้


วิธีเก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องมือแกะสลัก

1 เก็บรักษาความสะอาดให้ดี
2 เมื่อทำการแกะสลักเรียบร้อยแล้วควรเก็บไว้ให้เหมาะสม
3.ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
4.ควรล้างอุปกรณ์ทุกครั้งหลังการทำ


การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและดำรงไว้
3.ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.ปนิดา วงศ์คำ ม.6 เลขที่ 7
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดว่าวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง จัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้ งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก แล้วนำมาดัดแปลงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความสามารถของคนในท้องถิ่นที่สั่งสมกันมาจากประสบการและการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลานาน

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
1.ใช้วิธีสาธิต คือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฎิบัติตาม
2.ใช้วิธีการปฎิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฎิบัติจริงและปฎิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ

4.อุปกรณ์ใดที่ใช้ในการแกะสลัก มีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
มีดแกะสลัก
มีดแกะสลักมีลักษณะปลายเรียวแหลม คมบาง ทำด้วยแสตนเลสหรือเหล็กไม่เป็นสนิม หรือทองเหลือง เพื่อช่วยไม่ให้ผักและผลไม้มีสีดำ ความยาวของตัวมีดส่วนที่คมไม่ควรเกิน 2-3 นิ้ว ความกว้างของใบมีดส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 1/2-1/3 นิ้ว ด้ามมีดไม่ควรมีน้ำหนักมากเพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว และแกะสลักได้ช้า และไม่ควรเป็นมีดรูปโค้ง จะทำให้แกะสลักได้ยาก มีดแกะสลักเล่มเดียวสามารถแกะสลักผักและผลไม้ได้หลายแบบ หลายชนิดตามความต้องการ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออย่างอื่นเลย จึงต้องเก็บรักษาปลายมีดให้แหลมคมเสมอก่อน ใช้ควรตรวจดูและและหมั่นลับมีดให้คมอยู่เสมอ หลังการใช้งานเสร็จทุกครั้งควรล้างเช็ดให้แห้งเก็บให้เรียบร้อย มีดแกะสลักใช้สำหรับคว้าน แกะ สลัก เซาะ ให้เป็นร่อง และใช้ในการตัดเส้นลวดลาย ต่าง ๆ เช่น
มีดเลขที่ 1-3 เป็นมีดที่มีใบมีดกว้างปลายแหลมสั้น เหมาะสำหรับใช้กรีดและแกะสลักลวดลาย
มีดเลขที่ 4-6 มีใบมีดเรียวยาวโค้งเหมาะสำหรับใช้คว้าน เช่น คว้านเม็ดเงาะ และผักอื่น ๆ
มีดเลขที่ 7 มีใบมีดตรงปลายแหลม เหมาะสำหรับใช้กรีด เซาะคว้านแกะสลักที่ลวดลายตรง ๆ
หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีด
เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
ภาชนะใส่น้ำ
ถาดรองรับเศษผัก
ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
ที่ฉีดน้ำ
ภาชนะที่จัด
กล่องหรือถุงพลาสติก
วิธีเก็บรักษา
1. ทำความสะอาดมีดโดยการล้างให้สะอาด
2. นำผ้ามาเช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่ห่อพลาสติก
4. นำไปเก็บในที่เก็บมีด โดยเก็บให้พ้นมือเด็ก

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยทำได้อย่างไร
1. ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย
2. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
3. จัดตั้งสถาบันภูมอปัญญาไทยแห่งชาติ
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
5. การคุ้มครองลิขสิทธ์ภูมิปัญญาไทย
6. ประกาศยกย่องเชิดชูผู้ทรงปัญญาไทยทั้งระดับชาติและระดับโลก

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวสุดามาศ ลุนสำโรง ม.6
ภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้ หรือ การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดให้ความหมายไว้อย่างชัดเจนแต่พอทำความเข้าใจได้ดังนี้ หมายถึง ความรู้หรือประสบการณ์ดั้งเดิมของประชาชนในท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษหรือถ่ายทอดต่อกันจากสถาบันต่างๆ ในชุมชน เช่น จากสถาบันครอบครัว สถาบันความเชื่อและศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ นอกจากนี้ กรมการศึกษานอกโรงเรียนให้ความหมายคำว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” นั้นเป็นการเชื่อมโยงไปถึงความรู้ประสบการณ์ตรงของคนในท้องถิ่น ที่ได้จากการสะสมประสบการณ์จากการทำงาน การประกอบอาชีพและการเรียนรู้จากธรรมชาติแวดล้อมต่างๆ และถ้าจะพิจารณาภูมิปัญญาท้องถิ่นเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีแล้วนั้นหมายถึง เทคนิควิทยาพื้นบ้านได้ด้วย โดยสถานวิจัยสังคมได้ให้คำจำกัดความว่า เทคโนโลยีนั้นเป็นความรู้ว่าจะทำสิ่งต่างๆ อย่างไร โดยมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ เครื่องมือในการทำสิ่งนั้น ๆ และกระทบกันขั้นตอนในการทำสิ่งนั้น ๆ ซึ่งสามารถแยกได้ในลักษณะความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและความจำเป็นในท้องถิ่น เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์แนวความคิดที่เป็นมรดกของคนไทยในการประกอบอาชีพ โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเป็นหลักพิจารณากิจกรรมหรืออาชีพของชุมชน เช่น แถบพื้นที่หรือท้องถิ่นใดเป็นที่ราบลุ่ม กิจกรรมของชุมชนก็คือ การทำนา หรือการปั้นโอ่งและตุ่มน้ำจากดินเหนียว หรือการแกะสลักไม้เป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยใช้ไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น ในการสัมมนาทางวิชาการ โดยศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสุรินทร์ ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและการสร้างเครือข่าย นั้นได้ให้คำจำกัดความของคำว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ความหมายของภูมิปัญญาไทย
จากการศึกษาความหมายที่ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมคำว่า ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย สามารถรวบรวมได้ดังนี้

1) ภูมิปัญญา
คำว่า ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า wisdom ซึ่งมีความหมายว่าความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม และความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์

2) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
คำว่าภูมิปัญญาพื้นบ้าน ให้ความหมายว่าเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหา การปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถีของชาวบ้าน

3) ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชาไม่แยกเป็นวิชา ๆ แบบที่เราเรียน ฉะนั้นวิชาเกี่ยวกับเศรษฐกิจอาชีพ ความเป็นอยู่เกี่ยวกับการใช้จ่าย กับการศึกษาวัฒนธรรมมันจะผสมผสานกลมกลืนเชื่อมโยงกันไปหมด
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) เป็นองค์ความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สั่งสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหา ปรับตัว เรียนรู้ และมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลงชุมชนให้อยู่รอดจนถึงปัจจุบัน
ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Locsl wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) คือ ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาให้เห็นเป็นศาสตร์เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชน และในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษาและนำมาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถ่ายทอด และพัฒนาไปสู่คนรุ่นใหม่ ตามยุคตามสมัยได้

5) ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย เป็นผลของประสบการณ์สั่งสมของคนที่เรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มชนเดียวกันและระหว่างกลุ่มชุมชนหลาย ๆ ชาติพันธุ์ รวมไปถึงโลกทัศน์ที่มีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ ภูมิปัญญาเหล่านี้เคยเอื้ออำนวยให้คนไทยแก้ปัญหาได้ดำรงอยู่ และสร้างสรรค์อารยธรรมของเราเองได้อย่างมีดุลยภาพกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในระดับพื้นฐานหรือระดับชาวบ้าน ภูมิปัญญาในแผ่นดินนี้มิได้เกิดขึ้นเป็นเอกเทศแต่มีส่วนแลกเปลี่ยนเลือกเฟ้น และปรับให้ภูมิปัญญาจากอารยธรรมอื่นตลอดมา
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน วิชิต นันทสุวรรณ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง แกนหลักของการมองชีวิต การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ประเวศ วะสี กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนานมีลักษณะการเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชา
สุจารี จันทรสุข กล่าวว่า ภูมิปัญญชาวบ้าน หมายถึง วิธีการปฏิบัติซึ่งชาวบ้านไมาจาประสบการณ์แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่องแต่ละประสบการณ
สามารถ นันทร์สูรย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดได้เองที่นำมาใช้แก้ปัญหา เป็นสติปัญญา เป็นองค์ความรู้
อังกูล สม่คะเนย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง มวลความรู้และมวลประสบการณ์ชาวบ้านที่ใช่ในการดำเนินชีวิตให้เป็นสุข
1ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
รัตนะ บัวสนธิ์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง กระบวนทัศน์ของบุคคลที่มีต่อตนเองต่อโลกและสิ่งแวดล้อม กระบวนการทัศน์ที่เป็นภูมิปัญหาท้องถิ่นจำแนกออกได้ 3 ลักษณะคือ
ลักษณะที่ 1 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการจัดการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม
ลักษณะที่ 2 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบสังคมหรือการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
ลักษณะที่ 3 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการผลิตหรือการประกอบอาชีพที่มีลักษณะมุ่งเน้นระบบการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง











วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้


วิธีเก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องมือแกะสลัก

1 เก็บรักษาความสะอาดให้ดี
2 เมื่อทำการแกะสลักเรียบร้อยแล้วควรเก็บไว้ให้เหมาะสม
3.ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
4.ควรล้างอุปกรณ์ทุกครั้งหลังการทำ






การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและดำรงไว้
3.ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.มณีรัตน์ จ่าบาล ม.6
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดว่าวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง จัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้ งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก แล้วนำมาดัดแปลงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความสามารถของคนในท้องถิ่นที่สั่งสมกันมาจากประสบการและการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลานาน

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
1.ใช้วิธีสาธิต คือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฎิบัติตาม
2.ใช้วิธีการปฎิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฎิบัติจริงและปฎิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ

4.อุปกรณ์ใดที่ใช้ในการแกะสลัก มีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
มีดแกะสลัก
มีดแกะสลักมีลักษณะปลายเรียวแหลม คมบาง ทำด้วยแสตนเลสหรือเหล็กไม่เป็นสนิม หรือทองเหลือง เพื่อช่วยไม่ให้ผักและผลไม้มีสีดำ ความยาวของตัวมีดส่วนที่คมไม่ควรเกิน 2-3 นิ้ว ความกว้างของใบมีดส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 1/2-1/3 นิ้ว ด้ามมีดไม่ควรมีน้ำหนักมากเพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว และแกะสลักได้ช้า และไม่ควรเป็นมีดรูปโค้ง จะทำให้แกะสลักได้ยาก มีดแกะสลักเล่มเดียวสามารถแกะสลักผักและผลไม้ได้หลายแบบ หลายชนิดตามความต้องการ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออย่างอื่นเลย จึงต้องเก็บรักษาปลายมีดให้แหลมคมเสมอก่อน ใช้ควรตรวจดูและและหมั่นลับมีดให้คมอยู่เสมอ หลังการใช้งานเสร็จทุกครั้งควรล้างเช็ดให้แห้งเก็บให้เรียบร้อย มีดแกะสลักใช้สำหรับคว้าน แกะ สลัก เซาะ ให้เป็นร่อง และใช้ในการตัดเส้นลวดลาย ต่าง ๆ เช่น
มีดเลขที่ 1-3 เป็นมีดที่มีใบมีดกว้างปลายแหลมสั้น เหมาะสำหรับใช้กรีดและแกะสลักลวดลาย
มีดเลขที่ 4-6 มีใบมีดเรียวยาวโค้งเหมาะสำหรับใช้คว้าน เช่น คว้านเม็ดเงาะ และผักอื่น ๆ
มีดเลขที่ 7 มีใบมีดตรงปลายแหลม เหมาะสำหรับใช้กรีด เซาะคว้านแกะสลักที่ลวดลายตรง ๆ
หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีด
เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
ภาชนะใส่น้ำ
ถาดรองรับเศษผัก
ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
ที่ฉีดน้ำ
ภาชนะที่จัด
กล่องหรือถุงพลาสติก
วิธีเก็บรักษา
1. ทำความสะอาดมีดโดยการล้างให้สะอาด
2. นำผ้ามาเช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่ห่อพลาสติก
4. นำไปเก็บในที่เก็บมีด โดยเก็บให้พ้นมือเด็ก

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยทำได้อย่างไร
1. ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย
2. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
3. จัดตั้งสถาบันภูมอปัญญาไทยแห่งชาติ
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
5. การคุ้มครองลิขสิทธ์ภูมิปัญญาไทย
6. ประกาศยกย่องเชิดชูผู้ทรงปัญญาไทยทั้งระดับชาติและระดับโลก

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาว ศันสนีย์ ยิ่งทรัพย์ ม.6
ภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้ หรือ การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดให้ความหมายไว้อย่างชัดเจนแต่พอทำความเข้าใจได้ดังนี้ หมายถึง ความรู้หรือประสบการณ์ดั้งเดิมของประชาชนในท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษหรือถ่ายทอดต่อกันจากสถาบันต่างๆ ในชุมชน เช่น จากสถาบันครอบครัว สถาบันความเชื่อและศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ นอกจากนี้ กรมการศึกษานอกโรงเรียนให้ความหมายคำว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” นั้นเป็นการเชื่อมโยงไปถึงความรู้ประสบการณ์ตรงของคนในท้องถิ่น ที่ได้จากการสะสมประสบการณ์จากการทำงาน การประกอบอาชีพและการเรียนรู้จากธรรมชาติแวดล้อมต่างๆ และถ้าจะพิจารณาภูมิปัญญาท้องถิ่นเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีแล้วนั้นหมายถึง เทคนิควิทยาพื้นบ้านได้ด้วย โดยสถานวิจัยสังคมได้ให้คำจำกัดความว่า เทคโนโลยีนั้นเป็นความรู้ว่าจะทำสิ่งต่างๆ อย่างไร โดยมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ เครื่องมือในการทำสิ่งนั้น ๆ และกระทบกันขั้นตอนในการทำสิ่งนั้น ๆ ซึ่งสามารถแยกได้ในลักษณะความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและความจำเป็นในท้องถิ่น เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์แนวความคิดที่เป็นมรดกของคนไทยในการประกอบอาชีพ โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเป็นหลักพิจารณากิจกรรมหรืออาชีพของชุมชน เช่น แถบพื้นที่หรือท้องถิ่นใดเป็นที่ราบลุ่ม กิจกรรมของชุมชนก็คือ การทำนา หรือการปั้นโอ่งและตุ่มน้ำจากดินเหนียว หรือการแกะสลักไม้เป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยใช้ไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น ในการสัมมนาทางวิชาการ โดยศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสุรินทร์ ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและการสร้างเครือข่าย นั้นได้ให้คำจำกัดความของคำว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ความหมายของภูมิปัญญาไทย
จากการศึกษาความหมายที่ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมคำว่า ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย สามารถรวบรวมได้ดังนี้

1) ภูมิปัญญา
คำว่า ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า wisdom ซึ่งมีความหมายว่าความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม และความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์

2) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
คำว่าภูมิปัญญาพื้นบ้าน ให้ความหมายว่าเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหา การปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถีของชาวบ้าน

3) ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชาไม่แยกเป็นวิชา ๆ แบบที่เราเรียน ฉะนั้นวิชาเกี่ยวกับเศรษฐกิจอาชีพ ความเป็นอยู่เกี่ยวกับการใช้จ่าย กับการศึกษาวัฒนธรรมมันจะผสมผสานกลมกลืนเชื่อมโยงกันไปหมด
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) เป็นองค์ความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สั่งสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหา ปรับตัว เรียนรู้ และมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลงชุมชนให้อยู่รอดจนถึงปัจจุบัน
ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Locsl wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) คือ ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาให้เห็นเป็นศาสตร์เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชน และในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษาและนำมาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถ่ายทอด และพัฒนาไปสู่คนรุ่นใหม่ ตามยุคตามสมัยได้

5) ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย เป็นผลของประสบการณ์สั่งสมของคนที่เรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มชนเดียวกันและระหว่างกลุ่มชุมชนหลาย ๆ ชาติพันธุ์ รวมไปถึงโลกทัศน์ที่มีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ ภูมิปัญญาเหล่านี้เคยเอื้ออำนวยให้คนไทยแก้ปัญหาได้ดำรงอยู่ และสร้างสรรค์อารยธรรมของเราเองได้อย่างมีดุลยภาพกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในระดับพื้นฐานหรือระดับชาวบ้าน ภูมิปัญญาในแผ่นดินนี้มิได้เกิดขึ้นเป็นเอกเทศแต่มีส่วนแลกเปลี่ยนเลือกเฟ้น และปรับให้ภูมิปัญญาจากอารยธรรมอื่นตลอดมา
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน วิชิต นันทสุวรรณ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง แกนหลักของการมองชีวิต การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ประเวศ วะสี กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนานมีลักษณะการเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชา
สุจารี จันทรสุข กล่าวว่า ภูมิปัญญชาวบ้าน หมายถึง วิธีการปฏิบัติซึ่งชาวบ้านไมาจาประสบการณ์แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่องแต่ละประสบการณ
สามารถ นันทร์สูรย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดได้เองที่นำมาใช้แก้ปัญหา เป็นสติปัญญา เป็นองค์ความรู้
อังกูล สม่คะเนย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง มวลความรู้และมวลประสบการณ์ชาวบ้านที่ใช่ในการดำเนินชีวิตให้เป็นสุข
1ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
รัตนะ บัวสนธิ์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง กระบวนทัศน์ของบุคคลที่มีต่อตนเองต่อโลกและสิ่งแวดล้อม กระบวนการทัศน์ที่เป็นภูมิปัญหาท้องถิ่นจำแนกออกได้ 3 ลักษณะคือ
ลักษณะที่ 1 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการจัดการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม
ลักษณะที่ 2 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบสังคมหรือการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
ลักษณะที่ 3 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการผลิตหรือการประกอบอาชีพที่มีลักษณะมุ่งเน้นระบบการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง


วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้


วิธีเก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องมือแกะสลัก

1 เก็บรักษาความสะอาดให้ดี
2 เมื่อทำการแกะสลักเรียบร้อยแล้วควรเก็บไว้ให้เหมาะสม
3.ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
4.ควรล้างอุปกรณ์ทุกครั้งหลังการทำ


การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและดำรงไว้
3.ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวสโรชา ฤทธิไกรม.6
ภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้ หรือ การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดให้ความหมายไว้อย่างชัดเจนแต่พอทำความเข้าใจได้ดังนี้ หมายถึง ความรู้หรือประสบการณ์ดั้งเดิมของประชาชนในท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษหรือถ่ายทอดต่อกันจากสถาบันต่างๆ ในชุมชน เช่น จากสถาบันครอบครัว สถาบันความเชื่อและศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ นอกจากนี้ กรมการศึกษานอกโรงเรียนให้ความหมายคำว่า “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” นั้นเป็นการเชื่อมโยงไปถึงความรู้ประสบการณ์ตรงของคนในท้องถิ่น ที่ได้จากการสะสมประสบการณ์จากการทำงาน การประกอบอาชีพและการเรียนรู้จากธรรมชาติแวดล้อมต่างๆ และถ้าจะพิจารณาภูมิปัญญาท้องถิ่นเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีแล้วนั้นหมายถึง เทคนิควิทยาพื้นบ้านได้ด้วย โดยสถานวิจัยสังคมได้ให้คำจำกัดความว่า เทคโนโลยีนั้นเป็นความรู้ว่าจะทำสิ่งต่างๆ อย่างไร โดยมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ เครื่องมือในการทำสิ่งนั้น ๆ และกระทบกันขั้นตอนในการทำสิ่งนั้น ๆ ซึ่งสามารถแยกได้ในลักษณะความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและความจำเป็นในท้องถิ่น เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์ใช้พลังคน สัตว์ และธรรมชาติ ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชน ในอันที่จะเป็นทางเลือกในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การประยุกต์แนวความคิดที่เป็นมรดกของคนไทยในการประกอบอาชีพ โดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเป็นหลักพิจารณากิจกรรมหรืออาชีพของชุมชน เช่น แถบพื้นที่หรือท้องถิ่นใดเป็นที่ราบลุ่ม กิจกรรมของชุมชนก็คือ การทำนา หรือการปั้นโอ่งและตุ่มน้ำจากดินเหนียว หรือการแกะสลักไม้เป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยใช้ไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น ในการสัมมนาทางวิชาการ โดยศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสุรินทร์ ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและการสร้างเครือข่าย นั้นได้ให้คำจำกัดความของคำว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ความหมายของภูมิปัญญาไทย
จากการศึกษาความหมายที่ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมคำว่า ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย สามารถรวบรวมได้ดังนี้

1) ภูมิปัญญา
คำว่า ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า wisdom ซึ่งมีความหมายว่าความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม และความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์

2) ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
คำว่าภูมิปัญญาพื้นบ้าน ให้ความหมายว่าเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหา การปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถีของชาวบ้าน

3) ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชาไม่แยกเป็นวิชา ๆ แบบที่เราเรียน ฉะนั้นวิชาเกี่ยวกับเศรษฐกิจอาชีพ ความเป็นอยู่เกี่ยวกับการใช้จ่าย กับการศึกษาวัฒนธรรมมันจะผสมผสานกลมกลืนเชื่อมโยงกันไปหมด
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) เป็นองค์ความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สั่งสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหา ปรับตัว เรียนรู้ และมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลงชุมชนให้อยู่รอดจนถึงปัจจุบัน
ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Locsl wisdom) หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular wisdom) คือ ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาให้เห็นเป็นศาสตร์เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชน และในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษาและนำมาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถ่ายทอด และพัฒนาไปสู่คนรุ่นใหม่ ตามยุคตามสมัยได้

5) ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย เป็นผลของประสบการณ์สั่งสมของคนที่เรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มชนเดียวกันและระหว่างกลุ่มชุมชนหลาย ๆ ชาติพันธุ์ รวมไปถึงโลกทัศน์ที่มีต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ ภูมิปัญญาเหล่านี้เคยเอื้ออำนวยให้คนไทยแก้ปัญหาได้ดำรงอยู่ และสร้างสรรค์อารยธรรมของเราเองได้อย่างมีดุลยภาพกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในระดับพื้นฐานหรือระดับชาวบ้าน ภูมิปัญญาในแผ่นดินนี้มิได้เกิดขึ้นเป็นเอกเทศแต่มีส่วนแลกเปลี่ยนเลือกเฟ้น และปรับให้ภูมิปัญญาจากอารยธรรมอื่นตลอดมา
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน วิชิต นันทสุวรรณ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง แกนหลักของการมองชีวิต การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ประเวศ วะสี กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้านเกิดจากการสะสมการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนานมีลักษณะการเชื่อมโยงกันไปหมดในทุกสาขาวิชา
สุจารี จันทรสุข กล่าวว่า ภูมิปัญญชาวบ้าน หมายถึง วิธีการปฏิบัติซึ่งชาวบ้านไมาจาประสบการณ์แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่องแต่ละประสบการณ
สามารถ นันทร์สูรย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดได้เองที่นำมาใช้แก้ปัญหา เป็นสติปัญญา เป็นองค์ความรู้
อังกูล สม่คะเนย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง มวลความรู้และมวลประสบการณ์ชาวบ้านที่ใช่ในการดำเนินชีวิตให้เป็นสุข
1ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
รัตนะ บัวสนธิ์ กล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง กระบวนทัศน์ของบุคคลที่มีต่อตนเองต่อโลกและสิ่งแวดล้อม กระบวนการทัศน์ที่เป็นภูมิปัญหาท้องถิ่นจำแนกออกได้ 3 ลักษณะคือ
ลักษณะที่ 1 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการจัดการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม
ลักษณะที่ 2 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับระบบสังคมหรือการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์
ลักษณะที่ 3 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการผลิตหรือการประกอบอาชีพที่มีลักษณะมุ่งเน้นระบบการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้


วิธีเก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องมือแกะสลัก

1 เก็บรักษาความสะอาดให้ดี
2 เมื่อทำการแกะสลักเรียบร้อยแล้วควรเก็บไว้ให้เหมาะสม
3.ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
4.ควรล้างอุปกรณ์ทุกครั้งหลังการทำ

การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและดำรงไว้
3.ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (Local wisdom หรือ popular wisdom) คือพื้นฐานของความรู้ของชาวบ้านหรือคือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเรียนรู้จากผู้ใหญ่หรือที่เป็นความรู้สะสมสืบต่อกันมา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายคมสันต์ แก้วพรม ม.6
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
“ภูมิปัญญา” หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
• สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
• พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
• ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
• วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
• ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
• ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
• ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
• พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย ที่นักปราชญ์ผู้รู้ทั้งหลายได้กล่าวไว้อาจสรุปลงได้ว่า ความรอบรู้ ประสบการณ์ที่ดประชาชนได้ประพฤติปฏิบัติดำเนินชีวิตมาอย่างมีความสุข สามารถชนะ หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างดี จนกลายมาเป็นแบบอย่างแห่งการดำเนินชีวิตมาถึงปัจจุบัน



3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ของชาวบ้านในท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น จึงมีควมจำเป็นอย่างยิ่งที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง ในฐานะที่โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่เยาวชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น (อุพร จานประดับ, ๒๕๔๔ : ๒๔ - ๒๖)
4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้
2.อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ของชาวบ้านในท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น จึงมีควมจำเป็นอย่างยิ่งที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง ในฐานะที่โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่เยาวชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น (อุพร จานประดับ, ๒๕๔๔ : ๒๔ - ๒๖)

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.บุญแต่ง ดอนเส เลขที่ 28
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุมชนเพื่อให้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่รวมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การการประดิษฐ์ค้นคิดเครื่องมืออุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้การดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทยส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิธีการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะความชำนาญในชุมชนจึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญในการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทย
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ 1. วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและให้ปฏิบัติตามได้
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยการฟังการบรรยายอธิบาย พร้อมสาธิตประกอบ จากนั้นให้นำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติช้ำๆ จนเกิดความชำนาญ
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง กะละมัง วิธีเก็บรักษาควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไป จากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ รักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความและประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารรถสู่คนรุ่นใหม่



น.ส.บุญแต่ง ดอนเส ม.6 เลขที่ 28

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาว พรทิพย์ จันทภา เลขที่ 29 ม. 6
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุมชน เพื่อให้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่รวมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2. งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิธีการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะความชำนาญในชุมชนจึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญในการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทย
3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ 1. วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและให้ปฏิบัติตามได้
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยการฟังการบรรยาย อธิบาย พร้อมกับมีการสาธิตประกอบ จากนั้นให้นำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติช้ำๆ จนเกิดความชำนาญ

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง กะละมัง วิธีเก็บรักษาควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5. การอุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ รักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่

นางสาว พรทิพย์ จันทภา ม. 6

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.นิภารัตน์1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุม เพื่อใช้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตหรือการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะชำนาญในชุมชน จึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญทั้งในการสืบสานและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทยแก่ครอบครัว ชุมชน และประเทศในรูปแบบของการจำหน่ายเป็นสินค้า ซึงกำลังได้รับความนิยมในตอนนี้
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้อย่างไร
การถ่ายทอดสามารถทำได้ดังนี้
1.วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและปฏิบัติตาม
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยฟังการบรรยาย อธิพร้อมกับมีการสาธิตประกอบ
3.การอนุรักษ์ คือ การรักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม จัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้จากประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามรถสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อทำให้ภูมิปัญญาอยู่ในท้องถิ่นสืบต่อไป
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง สิ่ว วิธีเก็บรักษา ควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ให้สูญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไรจงอธิบาย
รักษาไว้ซึงความรู้ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่สืบสานต่อไป


น.ส.นิภารัตน์ สีมา เลขที่ 18

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายสุชาติ ผลไธสง ม.6
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดว่าวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง จัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้ งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก แล้วนำมาดัดแปลงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความสามารถของคนในท้องถิ่นที่สั่งสมกันมาจากประสบการและการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลานาน

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
1.ใช้วิธีสาธิต คือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฎิบัติตาม
2.ใช้วิธีการปฎิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฎิบัติจริงและปฎิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ

4.อุปกรณ์ใดที่ใช้ในการแกะสลัก มีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
มีดแกะสลัก
มีดแกะสลักมีลักษณะปลายเรียวแหลม คมบาง ทำด้วยแสตนเลสหรือเหล็กไม่เป็นสนิม หรือทองเหลือง เพื่อช่วยไม่ให้ผักและผลไม้มีสีดำ ความยาวของตัวมีดส่วนที่คมไม่ควรเกิน 2-3 นิ้ว ความกว้างของใบมีดส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 1/2-1/3 นิ้ว ด้ามมีดไม่ควรมีน้ำหนักมากเพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว และแกะสลักได้ช้า และไม่ควรเป็นมีดรูปโค้ง จะทำให้แกะสลักได้ยาก มีดแกะสลักเล่มเดียวสามารถแกะสลักผักและผลไม้ได้หลายแบบ หลายชนิดตามความต้องการ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออย่างอื่นเลย จึงต้องเก็บรักษาปลายมีดให้แหลมคมเสมอก่อน ใช้ควรตรวจดูและและหมั่นลับมีดให้คมอยู่เสมอ หลังการใช้งานเสร็จทุกครั้งควรล้างเช็ดให้แห้งเก็บให้เรียบร้อย มีดแกะสลักใช้สำหรับคว้าน แกะ สลัก เซาะ ให้เป็นร่อง และใช้ในการตัดเส้นลวดลาย ต่าง ๆ เช่น
มีดเลขที่ 1-3 เป็นมีดที่มีใบมีดกว้างปลายแหลมสั้น เหมาะสำหรับใช้กรีดและแกะสลักลวดลาย
มีดเลขที่ 4-6 มีใบมีดเรียวยาวโค้งเหมาะสำหรับใช้คว้าน เช่น คว้านเม็ดเงาะ และผักอื่น ๆ
มีดเลขที่ 7 มีใบมีดตรงปลายแหลม เหมาะสำหรับใช้กรีด เซาะคว้านแกะสลักที่ลวดลายตรง ๆ
หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีด
เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
ภาชนะใส่น้ำ
ถาดรองรับเศษผัก
ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
ที่ฉีดน้ำ
ภาชนะที่จัด
กล่องหรือถุงพลาสติก
วิธีเก็บรักษา
1. ทำความสะอาดมีดโดยการล้างให้สะอาด
2. นำผ้ามาเช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่ห่อพลาสติก
4. นำไปเก็บในที่เก็บมีด โดยเก็บให้พ้นมือเด็ก

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยทำได้อย่างไร
1. ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย
2. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
3. จัดตั้งสถาบันภูมอปัญญาไทยแห่งชาติ
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
5. การคุ้มครองลิขสิทธ์ภูมิปัญญาไทย
6. ประกาศยกย่องเชิดชูผู้ทรงปัญญาไทยทั้งระดับชาติและระดับโลก

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาว อัญชลี กองพระ ม.6
1. ความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น" (Local wisdom) หมายถึง ความรู้ ความสามารถของคน ในท้องถิ่นที่สั่งสมขึ้นมาจากประสบการณ์และการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนานและมีการคิดค้นต่อเนื่องกันมาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา ปรับตัว และดำรงชีวิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและผสมผสานสอดคล้องกับวิถีชีวิตของกลุ่มชนแล้วถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนเป็นวัฒนธรรม ภูมิปัญญาจึงมีความจำเพาะเจาะจงกับท้องถิ่น มีความเชื่อมโยงกับชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อมอย่างแยกกันไม่ออก
ภูมิปัญญา อาจแสดงออกในรูปความรู้ ความคิด เครื่องมือเครื่องใช้ สิ่งประดิษฐ์ คิดค้นจัดการในการผลิตทางการเกษตร และการบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิ่น
" ภูมิปัญญาด้านพืช" หมายถึง ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับพืชพืชสมุนไพร พันธุ์พืช ท้องถิ่น พรรณไม้น้ำ ในเรื่องขั้นตอนต่าง ๆ ของการผลิต เช่น การคัดเลือกพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ การคัดเลือกชนิดและพันธุ์พืชที่ใช้ให้เหมาะกับพื้นที่และสภาพการปลูก การผสมพันธุ์ คัดเลือกพันธุ์ สร้างพันธุ์ใหม่ การควบคุมศัตรูพืช ฯลฯ
"ภูมิปัญญาด้านสัตว์" หมายถึง ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ทุกชนิด (ยกเว้น สัตว์น้ำ) ในเรื่องของพันธุ์ การเลี้ยง การดูแลรักษาสุขภาพสัตว์ การใช้ประโยชน์ ฯลฯ
"ภูมิปัญญาด้านประมง" หมายถึง ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ำ ในเรื่องของพันธุ์ การเลี้ยง การดูแลรักษาสุขภาพสัตว์ การใช้ประโยชน์ ฯลฯ
"ภูมิปัญญาด้านผลิตภัณฑ์และการแปรรูป" หมายถึง ภูมิปัญญา หรือ ความรู้ความสามารถในการประยุกต์ หรือ ใช้วัตถุดิบในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ผ้าสิ่งทอ หัตถกรรมและสิ่งประดิษฐ์ เพื่อเป็นการเพิ่มคุณค่า และมูลค่าของผลผลิต หรือแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการผลิต รวมทั้งเป็นการสร้างสรรค์สิ่งจรรโลงจิตใจ ความงาม และความพอใจ
"ภูมิปัญญาด้านเครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร" หมายถึง ภูมิปัญญา หรือความรู้ ความสามารถในการประดิษฐ์ ประยุกต์ เครื่องมือเครื่องใช้ สำหรับการ ประกอบอาชีพทางการเกษตร



2. งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
งานประดิษฐ์ที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น เครื่องนุ่งห่ม เพราะสามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัว เช่นการทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ



3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น



4. อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับแช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ล้างน้ำให้สะอาด
2.ใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง
3.เก็บใส่กล่องหรือใส่ถุงพลาสติกให้เรียบร้อย และเก็บให้พ้นมือเด็ก



5. วิธีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยมิให้สูญหายไปจากสังคม
1.ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นไปสู่รุนลูก รุ่นหลาน
2.ตั้งศูนย์กลางของการทำภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.ยกย่องเชิดชูของภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริม
5.คุมครองลิขสิทธิ์ภูมิปัญญาไทย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายอรรคพล หิตะผล
ม.6
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
“ภูมิปัญญา” หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
• สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
• พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
• ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
• วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
• ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
• ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
• ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
• พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้มีหลายคำที่ผู้รู้ได้นำมาใช้ ใกล้เคียงกันหรือมีความหมายเหมือน ซึ่งจะได้อธิบายเป็นดังต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญา ตรงกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Wisdom” ซึ่งมีความหมายว่า ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม สามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์
ปรีชา อุยตระกุล อ้างจากกุลริตรา ภังคานนท์ กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติแวดล้อม คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยดผ่านขบวนการทางจารีตประเพณี ถ้าเกิดปัญหาทางด้านความไม่สมดุลย์กันขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความไม่สงบสุขเกิดปัญหาในหมู่บ้านและชุมชน
ชลธิรา สัตยาวัฒนา กล่าวว่าภูมิปัญหาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่งสมสืบทอดกันมายาวนานที่มีหลากหลายไร้เอกภาพ ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพ (Unity) แต่ภูมิปัญหาจัดว่าเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
2. ภูมิปัญหาพื้นบ้าน ยิ่งยง เทาดประเสริฐ ได้ใช้คำว่า ภูมิปัญญพื้นบ้านโดยให้ความหมายว่า เป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบทอดกันมาอันเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อการดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเผ่าพันธุ์หรือวิธีของชาวบ้าน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกล่าวว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisoom)หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน (popular Wisdom) เป็นองค์กรความรู้ความสามารถของชาวบ้านที่สะสมสืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะใช้แก้ปัญหาและมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่หรือคือแก่นของชุมชนที่จรรโลง ชุมชนให้อยู่รอดถึงปัจจุบัน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย ที่นักปราชญ์ผู้รู้ทั้งหลายได้กล่าวไว้อาจสรุปลงได้ว่า ความรอบรู้ ประสบการณ์ที่ดประชาชนได้ประพฤติปฏิบัติดำเนินชีวิตมาอย่างมีความสุข สามารถชนะ หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างดี จนกลายมาเป็นแบบอย่างแห่งการดำเนินชีวิตมาถึงปัจจุบัน



3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ของชาวบ้านในท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น จึงมีควมจำเป็นอย่างยิ่งที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง ในฐานะที่โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่เยาวชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น (อุพร จานประดับ, ๒๕๔๔ : ๒๔ - ๒๖)
4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
1.ร่วมกันสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้
2.อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ของชาวบ้านในท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น จึงมีควมจำเป็นอย่างยิ่งที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้เพื่อเยาวชนรุ่นหลัง ในฐานะที่โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่เยาวชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น (อุพร จานประดับ, ๒๕๔๔ : ๒๔ - ๒๖)

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุม เพื่อใช้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตหรือการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะชำนาญในชุมชน จึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญทั้งในการสืบสานและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทยแก่ครอบครัว ชุมชน และประเทศในรูปแบบของการจำหน่ายเป็นสินค้า ซึงกำลังได้รับความนิยมในตอนนี้
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้อย่างไร
การถ่ายทอดสามารถทำได้ดังนี้
1.วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและปฏิบัติตาม
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยฟังการบรรยาย อธิพร้อมกับมีการสาธิตประกอบ
3.การอนุรักษ์ คือ การรักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม จัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้จากประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามรถสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อทำให้ภูมิปัญญาอยู่ในท้องถิ่นสืบต่อไป
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง สิ่ว วิธีเก็บรักษา ควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ให้สูญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไรจงอธิบาย
รักษาไว้ซึงความรู้ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่สืบสานต่อไป


นาย กิตติพงษ์ ปานา เลขที่ 11 ม. 6

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุม เพื่อใช้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตหรือการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะชำนาญในชุมชน จึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญทั้งในการสืบสานและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทยแก่ครอบครัว ชุมชน และประเทศในรูปแบบของการจำหน่ายเป็นสินค้า ซึงกำลังได้รับความนิยมในตอนนี้
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้อย่างไร
การถ่ายทอดสามารถทำได้ดังนี้
1.วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและปฏิบัติตาม
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยฟังการบรรยาย อธิพร้อมกับมีการสาธิตประกอบ
3.การอนุรักษ์ คือ การรักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม จัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้จากประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามรถสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อทำให้ภูมิปัญญาอยู่ในท้องถิ่นสืบต่อไป
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง สิ่ว วิธีเก็บรักษา ควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ให้สูญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไรจงอธิบาย
รักษาไว้ซึงความรู้ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่สืบสานต่อไป


นาย เสกสรรค์ กระลาม เลขที่ 15 ม. 6

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย สถาพร ซอสูงเนิน ม.6 ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด
4.

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.จิราราภรณ์ เมืองศรี เลขที่ 17
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุมชนเพื่อให้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่รวมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การการประดิษฐ์ค้นคิดเครื่องมืออุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้การดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทยส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิธีการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะความชำนาญในชุมชนจึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญในการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทย
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ 1. วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและให้ปฏิบัติตามได้
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยการฟังการบรรยายอธิบาย พร้อมสาธิตประกอบ จากนั้นให้นำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติช้ำๆ จนเกิดความชำนาญ
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง กะละมัง วิธีเก็บรักษาควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไป จากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ รักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความและประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารรถสู่คนรุ่นใหม่

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายสถาพร ดำดุลย์ ม.6
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดว่าวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง จัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้ งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก แล้วนำมาดัดแปลงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความสามารถของคนในท้องถิ่นที่สั่งสมกันมาจากประสบการและการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลานาน

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
1.ใช้วิธีสาธิต คือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฎิบัติตาม
2.ใช้วิธีการปฎิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฎิบัติจริงและปฎิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ

4.อุปกรณ์ใดที่ใช้ในการแกะสลัก มีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
มีดแกะสลัก
มีดแกะสลักมีลักษณะปลายเรียวแหลม คมบาง ทำด้วยแสตนเลสหรือเหล็กไม่เป็นสนิม หรือทองเหลือง เพื่อช่วยไม่ให้ผักและผลไม้มีสีดำ ความยาวของตัวมีดส่วนที่คมไม่ควรเกิน 2-3 นิ้ว ความกว้างของใบมีดส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 1/2-1/3 นิ้ว ด้ามมีดไม่ควรมีน้ำหนักมากเพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว และแกะสลักได้ช้า และไม่ควรเป็นมีดรูปโค้ง จะทำให้แกะสลักได้ยาก มีดแกะสลักเล่มเดียวสามารถแกะสลักผักและผลไม้ได้หลายแบบ หลายชนิดตามความต้องการ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออย่างอื่นเลย จึงต้องเก็บรักษาปลายมีดให้แหลมคมเสมอก่อน ใช้ควรตรวจดูและและหมั่นลับมีดให้คมอยู่เสมอ หลังการใช้งานเสร็จทุกครั้งควรล้างเช็ดให้แห้งเก็บให้เรียบร้อย มีดแกะสลักใช้สำหรับคว้าน แกะ สลัก เซาะ ให้เป็นร่อง และใช้ในการตัดเส้นลวดลาย ต่าง ๆ เช่น
มีดเลขที่ 1-3 เป็นมีดที่มีใบมีดกว้างปลายแหลมสั้น เหมาะสำหรับใช้กรีดและแกะสลักลวดลาย
มีดเลขที่ 4-6 มีใบมีดเรียวยาวโค้งเหมาะสำหรับใช้คว้าน เช่น คว้านเม็ดเงาะ และผักอื่น ๆ
มีดเลขที่ 7 มีใบมีดตรงปลายแหลม เหมาะสำหรับใช้กรีด เซาะคว้านแกะสลักที่ลวดลายตรง ๆ
หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีด
เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
ภาชนะใส่น้ำ
ถาดรองรับเศษผัก
ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
ที่ฉีดน้ำ
ภาชนะที่จัด
กล่องหรือถุงพลาสติก
วิธีเก็บรักษา
1. ทำความสะอาดมีดโดยการล้างให้สะอาด
2. นำผ้ามาเช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่ห่อพลาสติก
4. นำไปเก็บในที่เก็บมีด โดยเก็บให้พ้นมือเด็ก

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยทำได้อย่างไร
1. ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย
2. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
3. จัดตั้งสถาบันภูมอปัญญาไทยแห่งชาติ
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
5. การคุ้มครองลิขสิทธ์ภูมิปัญญาไทย
6. ประกาศยกย่องเชิดชูผู้ทรงปัญญาไทยทั้งระดับชาติและระดับโลก

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาว พรนิภา สีรัง
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อ แม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุมชน เพื่อให้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่รวมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2. งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิธีการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะความชำนาญในชุมชนจึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญในการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทย
3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ 1. วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและให้ปฏิบัติตามได้
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยการฟังการบรรยาย อธิบาย พร้อมกับมีการสาธิตประกอบ จากนั้นให้นำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติช้ำๆ จนเกิดความชำนาญ

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง กะละมัง วิธีเก็บรักษาควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5. การอุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ รักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่

นางสาว พรนิภา สีรัง ม. 6 เลขที่ 30

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายสถาพร ดำดุลย์ ม.6
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกต คิดว่าวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง จัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง

2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้ งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก แล้วนำมาดัดแปลงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน คือความสามารถของคนในท้องถิ่นที่สั่งสมกันมาจากประสบการและการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลานาน

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
1.ใช้วิธีสาธิต คือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฎิบัติตาม
2.ใช้วิธีการปฎิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฎิบัติจริงและปฎิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ

4.อุปกรณ์ใดที่ใช้ในการแกะสลัก มีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
มีดแกะสลัก
มีดแกะสลักมีลักษณะปลายเรียวแหลม คมบาง ทำด้วยแสตนเลสหรือเหล็กไม่เป็นสนิม หรือทองเหลือง เพื่อช่วยไม่ให้ผักและผลไม้มีสีดำ ความยาวของตัวมีดส่วนที่คมไม่ควรเกิน 2-3 นิ้ว ความกว้างของใบมีดส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 1/2-1/3 นิ้ว ด้ามมีดไม่ควรมีน้ำหนักมากเพราะจะทำให้เมื่อยเร็ว และแกะสลักได้ช้า และไม่ควรเป็นมีดรูปโค้ง จะทำให้แกะสลักได้ยาก มีดแกะสลักเล่มเดียวสามารถแกะสลักผักและผลไม้ได้หลายแบบ หลายชนิดตามความต้องการ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออย่างอื่นเลย จึงต้องเก็บรักษาปลายมีดให้แหลมคมเสมอก่อน ใช้ควรตรวจดูและและหมั่นลับมีดให้คมอยู่เสมอ หลังการใช้งานเสร็จทุกครั้งควรล้างเช็ดให้แห้งเก็บให้เรียบร้อย มีดแกะสลักใช้สำหรับคว้าน แกะ สลัก เซาะ ให้เป็นร่อง และใช้ในการตัดเส้นลวดลาย ต่าง ๆ เช่น
มีดเลขที่ 1-3 เป็นมีดที่มีใบมีดกว้างปลายแหลมสั้น เหมาะสำหรับใช้กรีดและแกะสลักลวดลาย
มีดเลขที่ 4-6 มีใบมีดเรียวยาวโค้งเหมาะสำหรับใช้คว้าน เช่น คว้านเม็ดเงาะ และผักอื่น ๆ
มีดเลขที่ 7 มีใบมีดตรงปลายแหลม เหมาะสำหรับใช้กรีด เซาะคว้านแกะสลักที่ลวดลายตรง ๆ
หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีด
เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
ภาชนะใส่น้ำ
ถาดรองรับเศษผัก
ผ้าเช็ดมือ ผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
ที่ฉีดน้ำ
ภาชนะที่จัด
กล่องหรือถุงพลาสติก
วิธีเก็บรักษา
1. ทำความสะอาดมีดโดยการล้างให้สะอาด
2. นำผ้ามาเช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่ห่อพลาสติก
4. นำไปเก็บในที่เก็บมีด โดยเก็บให้พ้นมือเด็ก

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยทำได้อย่างไร
1. ช่วยกันถ่ายทอดภูมิปัญญาไทย
2. จัดให้มีศูนย์ภูมิปัญญาไทย
3. จัดตั้งสถาบันภูมอปัญญาไทยแห่งชาติ
4. จัดตั้งกองทุนส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
5. การคุ้มครองลิขสิทธ์ภูมิปัญญาไทย
6. ประกาศยกย่องเชิดชูผู้ทรงปัญญาไทยทั้งระดับชาติและระดับโลก

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

น.ส.นิตยา นาเจิทอง
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่เกิดจากการสะสมประสบการณ์และการเรียนรู้จากพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง หรือผู้ที่มีความรู้ในชุม เพื่อใช้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตหรือการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย ซึ่งภูมิปัญญาอาจแสดงในรูปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพในรูปของวัตถุ เช่น การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันโดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นต้น
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ผลิตภัณฑ์จากงานหัตถกรรมของไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น ซึ่งหาได้ง่ายและมีราคาถูก เทคนิค และวิการประดิษฐ์ก็ได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีทักษะชำนาญในชุมชน จึงนับได้ว่างานหัตถกรรมมีความสำคัญทั้งในการสืบสานและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของไทยแก่ครอบครัว ชุมชน และประเทศในรูปแบบของการจำหน่ายเป็นสินค้า ซึงกำลังได้รับความนิยมในตอนนี้
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้อย่างไร
การถ่ายทอดสามารถทำได้ดังนี้
1.วิธีการสาธิต โดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและปฏิบัติตาม
2. วิธีการปฏิบัติจริง โดยฟังการบรรยาย อธิพร้อมกับมีการสาธิตประกอบ
3.การอนุรักษ์ คือ การรักษาไว้ซึ่งความรู้ที่ดีงาม จัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้จากประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามรถสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อทำให้ภูมิปัญญาอยู่ในท้องถิ่นสืบต่อไป
4.อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
มีดคว้าน มีดเจียน กระดาษรอง สิ่ว วิธีเก็บรักษา ควรทำความสะอาดก่อนและหลังใช้งานและเก็บไว้ในที่มิดชิด
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ให้สูญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไรจงอธิบาย
รักษาไว้ซึงความรู้ดีงาม โดยจัดให้มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากผู้มีความรู้ความสามารถสู่คนรุ่นใหม่สืบสานต่อไป

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวสิริพร นครร
1.ภูมปัญญาท้องถิ่นหมายถึง
การที่ชุมชนนั้นๆ
มีความคิดที่จะผลิตสินค้าที่มีในชุมชนโดยดัดการแปลงทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
เป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ทำให้คนในชุมชนสามรถนำไปทำเพื่อ
ยึดเป็นหลักในการประกอบอาชีพ
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมปัญญาท้องถิ่นอย่างไรจงอธิบาย
การประดิษฐ์เครื่องใช้ด้วยไม้ไผ่โดยการสานต่างๆเช่นการทำ เปลนอน กระเป๋า
ตระกล้า สุ่ม ฯลฯจัดเป็นภูมปัญญาท้องถิ่นที่นำวัสดุที่หาได้มาดัดแปลงให้เกิดเป็นสิ่งต่างๆ
ซึ่งส่วนใหญ่จะพบมากภาคอีสาน จัดเป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความสามารถอย่างระเอียดเพื่อทำให้ผลงานออมามีคุณภาพเหมาะการใช้งานโยการนำไปส่ายได้ให้กับครอบครัว
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
งานประดิษฐ์ประเภทต่างๆล้วนเป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความสามารถและความอดทนที่จะทำ โดยทำให้เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นมามีจุดมุ่งหมายตั้งใจศึกษาอย่างระเอียดและฝึก หัดทำจากเชี่ยวชาญในงานนั้นๆ
4.อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลักมีอะไรบ้าง มีวิธีการเก็บรักษาแบบใด
1.กบใส
2.เลื่อย
3.มีด
4.กระดาษทราย 5.สว่าน
เมื่อใช้แล้วตรวจสอบความเรียบร้อยของเครื่งมือทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายทำได้อย่างไร
ปลูกฝังจิตสำนึกความคิด รักในการประดิษฐ์สิ่งที่มีในชุมชนให้มีคุณค่าโดยเล็งเห็นความสำคัญที่จะได้ทำให้เกิดประโยชน์และได้ชิ้นงานที่ทีความหลากหลายสวยงามนำมาใช้งานได้โดยงานที่ผลิตขึ้นมาส่งออกขายได้และมีความจำเป็นในการใช้งาน
าช ม.6

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายอภิศักดิ์ พิชัย ม.6
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวสิริพร นครราช
1.ภูมปัญญาท้องถิ่นหมายถึง
การที่ชุมชนนั้นๆ
มีความคิดที่จะผลิตสินค้าที่มีในชุมชนโดยดัดการแปลงทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
เป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ทำให้คนในชุมชนสามรถนำไปทำเพื่อ
ยึดเป็นหลักในการประกอบอาชีพ
2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมปัญญาท้องถิ่นอย่างไรจงอธิบาย
การประดิษฐ์เครื่องใช้ด้วยไม้ไผ่โดยการสานต่างๆเช่นการทำ เปลนอน กระเป๋า
ตระกล้า สุ่ม ฯลฯจัดเป็นภูมปัญญาท้องถิ่นที่นำวัสดุที่หาได้มาดัดแปลงให้เกิดเป็นสิ่งต่างๆ
ซึ่งส่วนใหญ่จะพบมากภาคอีสาน จัดเป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความสามารถอย่างระเอียดเพื่อทำให้ผลงานออมามีคุณภาพเหมาะการใช้งานโยการนำไปส่ายได้ให้กับครอบครัว
3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
งานประดิษฐ์ประเภทต่างๆล้วนเป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความสามารถและความอดทนที่จะทำ โดยทำให้เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นมามีจุดมุ่งหมายตั้งใจศึกษาอย่างระเอียดและฝึก หัดทำจากเชี่ยวชาญในงานนั้นๆ
4.อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลักมีอะไรบ้าง มีวิธีการเก็บรักษาแบบใด
วัสดุแกะสลัก
1.คว้าน
2.ปลอก
3.มีด
4.กระดาษทราย 5.สว่าน
เมื่อใช้แล้วตรวจสอบความเรียบร้อยของเครื่องมือทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายทำได้อย่างไร
ปลูกฝังจิตสำนึกความคิด รักในการประดิษฐ์สิ่งที่มีในชุมชนให้มีคุณค่าโดยเล็งเห็นความสำคัญที่จะได้ทำให้เกิดประโยชน์และได้ชิ้นงานที่ทีความหลากหลายสวยงามนำมาใช้งานได้โดยงานที่ผลิตขึ้นมาส่งออกขายได้และมีความจำเป็นในการใช้งาน

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย ชาญณรงค์ กองเกิด ม.6
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

งานที่6 นางสาวพัทอำพา กองเกิด
1.ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร

ตอบ คือสี่งที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงถึงเอกลักของท้องถิ่นนั้นๆโดยการถ่ายทอดทางสายเลือด หรือจากชุมน โดยการปฏิบัติต่อกันทุกๆปีหรือทุกๆโอกาศทำให้ประเพณีหรือภูมิปัญญานั้นๆมีการสืบทอดต่อกันมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ทำให้คนไทยในอดีตมีรายได้และมีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย และเป็นสิ่งดีๆที่ควรนำมาปฏิบัติตาม


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร

ตอบ งานประดิษฐ์เกิดจากการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้หรืพัฒนาให้สวยงามมากขึ้น และสามารถใช้สอยได้มากขึ้นนับว่าเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นไปพร้อมกับการทำสิ่งของประดับตกแต่งไปด้วย ดังนั้นจึงสรุปได้ว่างานประดิษฐ์นั้นเกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการประยุกต์นั่นเอง

3.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร

ตอบ โดยการถ่ายทอดทางสายเลือด หรือจากชุมน โดยการปฏิบัติต่อกันทุกๆปีหรือทุกๆโอกาศทำให้ประเพณีหรือภูมิปัญญานั้นๆมีการสืบทอดต่อกันมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ทำให้คนไทยในอดีตมีรายได้และมีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย และเป็นสิ่งดีๆที่ควรนำมาปฏิบัติตาม

4.อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
ตอบวัสดุแกะสลัก
วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลัก ปอก คว้าน พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการทำงานที่สะดวกและได้ผลตลอดจนการเก็บรักษามีดังนี้
1.มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม้ขนาดใหญ่
2.มีดบางใช้ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3.มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4.มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลักจะต้องคมอยู่เสมอ
5.มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6.มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7.หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง

5.การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร

ตอบ ชนรุ่นหลังต้องตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาของท้องถิ่นตนเองและช่วยกันอนุรักโดยการถ่ายทอดทางสายเลือด หรือจากชุมน โดยการปฏิบัติต่อกันทุกๆปีหรือทุกๆโอกาศทำให้ประเพณีหรือภูมิปัญญานั้นๆมีการสืบทอดต่อกันมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ทำให้คนไทยในอดีตมีรายได้และมีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย และเป็นสิ่งดีๆที่ควรนำมาปฏิบัติตาม

ษ์

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย กิตติพงษ์ ปานา ม.6



ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวโยธกา ไสวงาม
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1. ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2. เช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย วิชิต สำโรงลุน ม.6 ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย สมพร จ่าอินทร์ ม.6
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นาย สมพร จ่าอินทร์ ม.6
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง

ภูมิปัญญา" หรือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายทั่วไปในสังคม และในวงการต่างๆ ทั้งของรัฐ องค์กรพัฒนา นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเป็นคำที่คาบเกี่ยวกับคำอื่นๆอีกจำนวนหนึ่ง เช่น ความรู้ท้องถิ่น ความรู้ของชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้พื้นบ้าน คำเหล่านี้อาจจะเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงเวลาประมาณยี่สิบปีที่ผ่านมา และได้รับแรงส่งเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เป็นปฏิกริยาต่อต้านโลกาภิวัตน์ เกิดการหันมาเน้นความสำคัญของท้องถิ่นและยกย่องความรู้และวิถีชิวีตแบบท้องถิ่น มองเห็นความงดงามและลุ่มลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบ้านและชาวป่าชาวดอยที่ห่างไกลความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าความคิดเรื่องภูมิปัญญาจะเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีคุณค่า แต่ความเข้าใจว่าภูมิปัญญาคืออะไร แตกต่างหรือไม่แตกต่างจากความรู้อย่างไร ก็ยังเป็นสิ่งที่มีความคลุมเครืออยู่มาก รวมทั้งการใช้คำนี้ในชีวิตประจำวัน หรือนำไปใช้ในการเคลื่อนไหวทางสังคม ก็มีความหมายหลากหลาย บางทีก็ใช้กับผลิตภัณฑ์หรือเทคนิควิธี บางทีก็ใช้กับกระบวนการทางสังคมของการถ่ายทอดความรู้ หรือบางทีก็หมายถึงตัวบุคคล นอกจากนั้นการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ดูมีเป้าหมายและรูปแบบที่ขัดแย้งกัน เช่นระหว่างการส่งเสริมให้ความชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองเพื่อเป็นพลังแก่ชุมชน กับส่งเสริมในรูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคของนักท่องเที่ยว หรือระหว่างความเป็นท้องถิ่นนิยมกับความเป็นชาตินิยม และในขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า การมุ่งแต่จะส่งเสริมภูมิปัญญาโดยปราศจากการใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบ แทนที่จะเกิดความงอกงาม อาจจะนำไปสู่ความอับจนปัญญามากกว่า
ดังนั้น หากเราพิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นมโนทัศน์ที่ใช้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม จึงยังคงมีคำถามที่ควรจะช่วยกันตอบอยู่อีกมาก ในแง่หนึ่ง นักมานุษยวิทยา มีความสนใจภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นระบบความรู้ประเภทหนึ่ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง แตกต่างจากความรู้สมัยใหม่ หรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และได้มีผู้ที่พยายามแยกแยะ ดึงเอาความแตกต่างระบบความรู้สองแบบนี้ออกมาต่างๆกัน เช่น ความรู้ที่เฉพาะเจาะจง/ความรู้สากล ความรู้เชิงปฏิบัติ/ความรู้เชิงวิเคราะห์ ความรู้ท้องถิ่นโลกที่สาม/ความรู้ตะวันตก ความรู้แบบมุขปาฐะ/ความรู้ที่ใช้ตัวหนังสือ ในอีกแง่หนึ่งนักมานุษยวิทยาบางกลุ่ม เห็นว่า การจำแนกความรู้เป็นคู่ตรงข้ามเช่นนี้เป็นเรื่องสุดโต่งเกินไป ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีลักษณะของการผสมผสาน ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึงไม่มีภูมิปัญญาที่บริสุทธิ์ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ตามแม่แบบที่เป็นอุดมคติ
นอกจากนั้น การมองเรื่องภูมิปัญญาและระบบความรู้ ในอีกกระแสความคิดหนึ่ง ยังเสนอว่า ระบบความรู้ไม่ว่าของพื้นบ้าน หรือความรู้สากล ล้วนเป็นผลผลิตทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นด้วยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคสมัย ภายใต้ปฏิบัติการของอำนาจที่คัดสรรกลั่นกรองและกำหนดคุณค่าว่า ความรู้ชนิดใด เรื่องใด สมควรที่จะได้รับการเปิดเผยและเชิดชู และแบบใดสมควรถูกเพิกเฉย หรือปกปิดไว้ ดังนั้นความรู้ทุกอย่างจึงเผยความจริงบางสิ่ง และอำพรางซ่อนเร้นบางสิ่งอยู่เสมอ
การประชุมประจำปีทางมานุษย วิทยา ครั้งที่ 3 ในเดือนมีนาคม 2547 จึงเป็นการเปิดเวทีให้มีการทบทวน ตั้งคำถาม เสนอแนะ เปิดเผยและปิดบัง ท้าทายและสร้างสมภูมิปัญญาและความรู้ใหม่ ในประเด็นหลักๆต่อไปนี้
* สืบค้นประวัติศาสตร์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ความคิดเรื่องภูมิปัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด เกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ ชาตินิยม ท้องถิ่นนิยม หรือการต่อสู้ระหว่างกลุ่มอำนาจต่างๆในสังคมอย่างไร
* พิจารณาภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นระบบความรู้ ที่มีความหลากหลาย และเป็นเวทีของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้จากแหล่งต่างๆทั้งที่เป็นของเดิมและของใหม่
* ภูมิปัญญาในฐานะกระบวนการขัดขืน ต่อรอง และปรับตัว ต่ออิทธิพลจากภายนอก เป็นเครื่องมือของคนในท้องถิ่นในการตอบโต้ในเชิงความคิดและการปฏิบัติ กับระบบทุนนิยม บริโภคนิยม และการท่องเที่ยว
* วาทกรรมความรู้ การเมืองของระบบความรู้ วิเคราะห์บุคคลและองค์กรที่มีส่วนในการสร้างวาทกรรมเรื่องภูมิปัญญา และการนำเรื่องภูมิปัญญาในใช้ในระดับความคิด นโยบาย และปฏิบัติการของคนกลุ่มต่างๆ เช่นหน่วยงานราชการ องค์กรพัฒนา ชาวบ้าน สื่อมวลชน นักวิชาการ
* ชาวบ้าน ในฐานะผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญา และ ในฐานะที่เป็นผู้วิเคราะห์วิจัย
* ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการนิยามความเป็นหญิงชาย หรือเพศกับความรู้ เงื่อนไขของการนิยามความเป็นเพศหญิงชายและอื่นๆ ทำให้เกิดการสั่งสมความรู้ ภูมิปัญญา ในลักษณะที่ต่างกัน
* ภูมิปัญญาในฐานะที่เป็นพื้นที่ของการสร้างสรรค์ทางสุนทรีย์
* พัฒนาการของความคิดและปฏิบัติการเรื่องภูมิปัญญา ในสังคมหรือภูมิภาคอื่นๆ นอกประเทศไทย
รูปแบบของการประชุม จะมีการนำเสนอบทความการวิจัย การบรรยายรวม เสวนาโต๊ะกลม และพบกับนักวิชาการอาวุโส ที่มีบทบาทในเรื่องภูมิปัญญา เวทีของชาวบ้าน


งานประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร
โดยงานประดิษฐ์ก็ ดัดแปลงมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย



การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำได้ อย่างไร
1. ถ่ายทอดจากปู่ ย่า สู่ลูกหลาน
2. จาก ครู สู่ ศิษ
3. จากชาวบ้าน สู่ชุมชน



อุปกรใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และวิธีการเก็บรักษา
1. มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใส่น้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้

วิธีการเก็บรักษา
1.ใช้เสร็จ แล้วล้างให้เรียบร้อย
2.เก็บในที่มีอากาศถ่ายเท



การอนุรักภูมิปัญญาท้องถิ่น มิให้สูญหาย ไปจากสังคมไทย
1.สอนลูกหลานให้รู้จักภูมิปัญญา ท้องถิ่น
2.สอนให้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
3.สอนให้ลูกหลาน รักบ้านเกิด

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นางสาวพัทอำพา กองเกิด
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1. ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2. เช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นายเอกชัย เกียรตินอก
ตอบคำถามต่อไปนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมายถึงอะไร
ตอบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิ มีความหมายว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค์งานเพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นการถ่ายทอดความรู้ หรือ
การสอน หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้แสดงเข้าใจโดยวิธีบอกหรือทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีรู้ชั่ว
ไว้ในตำราเท่านั้น
กลุ่มเป้าหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในท้องถิ่น ส่วนมากจะเป็นคนในครอบครัว เป็นญาติโดยสายเลือด เนื่องจากความรู้บางอย่าง ผู้รู้ทั้งหลายมักหวงแหนมาก จะไม่แพร่งพรายให้คนอื่นๆรู้ ที่เป็นอย่างนี้เพราะสาเหตุหลายประการคือ
1. กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง
3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล็ดลับหรือกลวิธีการผลิต
4. สื่อและเทคโนโลยียังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่
สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้
1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ
2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดสำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง4. ความจำเป็นในการผลิต ทำให้ภูมิปัญญาต้องถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นๆนอกเหนือจากคนในครอบครัวหรือผู้สืบสายเลือด เพื่อ ต้องการเพิ่มผลผลิตสู่ตลาด
สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำงานนั้นๆมาอย่างมากมาย ความรู้ดังกล่าวเป็นความรู้ที่นำมาปฏิบัติ มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรม เป็นความรู้ที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น ความรู้ ความสามารถดังกล่าว เป็นสิ่งที่สะสมมานาน เป็นโครงสร้างความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุผลในตัวเองที่น่าศึกษา ควรอนุรักษ์และสืบทอด
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นมีอยู่มากมายในท้องถิ่น แต่ละคนต่างมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีผลงานเพื่อ การดำรงชีวิตที่แตกต่างออกไปหลายด้านหลายสาขา ดังนี้
สาขาเกษตรกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีผลงานด้านการทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ ประมง ทำไร่นาสวนผสม ฯลฯ โดดเด่น เลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้อย่างพอเพียง มีรายได้จากผลผลิตด้านนี้ มีแนวคิดที่ดี แปลกใหม่ที่เป็นประโยชน์และช่วยพัฒนา อาชีพด้านนี้ได้อย่างน่าสนใจ เช่น เป็นผู้คิดริเริ่มการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแบบพอเพียง เกษตรที่เอื้อประโยชน์ต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
สาขาคหกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ด้านอาหาร เป็นต้นตำรับการปรุงอาหารที่มีรสชาติอร่อย ให้คุณค่าด้านโภชนาการ ใช้วัสดุที่มีราคาไม่แพง วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น รู้จักคิด ดัดแปลงสูตรอาหารได้แปลกใหม่ หรือเป็นผู้ที่สืบสานตำรับตำราที่มีอาหารรสเลิศ สามารถผิตเป็นสินค้าจำหน่ายได้ เช่น การทำปลาร้า การทำส้มหรือแหนม ขนมต่างๆ ฯลฯ
2.2 ด้านงานประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่ม สามารถทำเป็นอาชีพจำหน่ายได้ สามารถทำเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ เช่น การทำผ้านวม การตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ
2.3 ด้านที่อยู่อาศัย สามารถจัดบ้านเรือน บริเวณได้น่าอยู่ น่าอาศัยตามอัตภาพ ทำให้มีสุขภาพอนามัยในการอยู่อาศัย
สาขาศิลปกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานโดดเด่นในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ด้านจิตรกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขียนภาพลงบนผ้า หน้าผา การสักลาย ฯลฯ3.2 ด้านประติมากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมีฝีมือในการปั้น
แกะสลัก การหล่อ เช่น หล่อพระพุทธรูป ปั้นโอ่ง สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งก่อสร้าง ฯลฯ
3.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เรื่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภูมิ ฯลฯ
3.4 ด้านหัตถกรรม (งานช่างฝีมือ) คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีผลงานในสิ่งที่ทำมือ เช่นเครื่องจักสานต่างๆ
3.5 ด้านงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำผลงานเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ
3.6 ด้านดนตรี นาฏศิลป์และการเล่นพื้นบ้าน คือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ด้านการเล่นดนตรี การขับลำ การฟ้อนรำ การคิดวิธีการเล่นพื้นบ้าน หมอลำ
การเล่นหนังปราโมทัย ลิเก เพลง กันตรึม เจรียง ฯลฯ
สาขาสาธารณสุข คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถมีประสบการณ์ด้านการใช้ยาสมุนไพร การรักษาโรคแผนโบราณ การรักษาสุขภาพอนามัยร่างกาย การสืบสานตำราสมุนไพร หมอนวดแผนโบราณ หมอตำแย ฯลฯ
สาขาภาษาและวรรณกรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการแต่งวรรณกรรมพื้นบ้าน การคิดประดิษฐ์อักษรภาษาถิ่น การสืบสานอักษรโบราณ วรรณกรรมท้องถิ่น ฯลฯ
สาขาอื่นๆ ภูมิปัญญาด้านอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ ภูมิปัญญาหรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในด้านต่อไปนี้
1. ด้านพิธีกรรมต่างๆ ได้แก่ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีผลงานเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น หมอสูตรขวัญ
2. ด้านโหราศาสตร์ ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และมีผลงานด้านโหราศาสตร์หรือหมอดู ฯลฯ
3. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามขนบประเพณีของท้องถิ่นนั้นๆ


2.งานประดิษฐ์เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 1.ด้านความคิดสร้างสรรค์
2. การประยุกต์ใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นงานประดิษฐ์

3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำได้อย่างไร
ตอบ การถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้คือ การบอกวิชาความรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมักจะถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายไปโดยอัตโนมัติ ไม่ได้เรียนวิชาการสอนจากสถาบันใดๆ แต่จะใช้สามัญสำนึกแบบสังคมปะกิต คือ การเรียนการสอน ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบและจดจำสืบทอดกันมาในครอบครัว และใช้การถ่ายทอดโดย
1. ใช้วิธีสาธิต คือ ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอน ให้ผู้เรียนทำให้เข้าใจแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม
2. ใช้วิธีปฏิบัติจริง คือ ฟังคำบรรยาย อธิบาย สาธิตแล้วนำไปปฏิบัติจริงและปฏิบัติซ้ำๆจนเกิดความชำนาญ เพราะผลงานที่จะใช้ดำรงชีวิตได้ ต้องเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริง นำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่ใช่ผลงานที่กล่าวอ้างไว้ในตำราเท่านั้น

4. อุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้ในการแกะสลัก และมีวิธีเก็บรักษาอย่างไร
ตอบ . มีดด้ามใหญ่ มีดหั่น ตัวมีดยาวปลายแหลม ใช้หั่นผักผลไม่ขนาดใหญ่
2. มีดบางใช้ ปอกหั่นผลไม้ขนาดกลาง
3. มีดบางใช้ปอก เกลา ปาดผลไม้เพื่อเตรียมแกะสลัก
4. มีดแกะสลักหรือมีดคว้านปลายแหลมเรียวเล็ก คมบาง ใช้สำหรับคว้านแกะสลักเซาะให้เป็นร่อง มีดแกะสลัก จะต้องคมอยู่เสมอ
5. มีดโค้งมน ใบมีดยาวโค้งมีคมเป็นหยักเหมือนฟันเลื่อย ใช้ปาดเนื้อผลไม้ที่เป็นทรงกลม เช่นแตงโม
6. มีดมีคมทั้งสองด้านหันหน้าเข้าหากันใช้สำหรับปอกเปลือกผักและผลไม้
7. หินลับมีดหรือกระดาษทรายละเอียดใช้สำหรับลับมีดเพื่องานแกะสลัก เพราะมีดมีคมบาง
8. เขียงสำหรับรองการหั่นผักและผลไม้
9. ภาชนะใสน้ำสำหรับเช่ผักผลไม้ที่แกะแล้ว
10. ถาดรองรับเศษผักผลไม้ขณะที่ที่กำลังแกะสลัก
11. ผ้าขาวบาง สำหรับคลุมผักและผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ
12. ผ้าเช็ดมือ และผ้ากันเปื้อน หมวกคลุมผม
13. ที่ฉีดน้ำที่มีละอองเป็นฝอยเล็ก ๆ ใช้พรมผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว
14. ภาชนะที่จัดผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จแล้ว เช่น จาน แก้ว ถาด โตก พาน ใบไม้ชนิดต่าง ๆ ตามความ เหมาะสม
15. หากล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกใส่ผักผลไม้ที่แกะสลักเสร็จ เพื่อรอการจัดแช่ในตู้เย็นชั้นผักผลไม้
16. มีดแกะสลัก


มีวิธีเก็บรักษา คือ
1. ล้างมีดแกะสลักให้สะอาด
2. เช็ดให้แห้ง
3. เก็บใส่กล่องเครื่องมือให้เรียบร้อย

5. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สุญหายไปจากสังคมไทยมีวิธีการอย่างไร อธิบาย
ตอบ 1.สืบสานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่รุ่นลูกหลานต่อๆไป
3.บันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น